แนวข้อสอบ ตํารวจ สำหรับการสอบปี 2555 แนวข้อสอบ ตํารวจ อก 2555 แนวข้อสอบ ตํารวจ ปราบปราม 2555
หลังจากที่มีประกาศออกมาว่าจะมีการสอบปรับระดับตำรวจชั้นประทวนเป็นสัญญาบัตรทั่วประเทศเป็นจำนวนถึง 7000 อัตรา วันนี้เลยมีมีแนวข้อสอบสำหรับการสอบ ปรับระดับตำรวจชั้นประทวนเป็นสัญญาบัตรตำรวจสำหรับการสอบใน ปี 2555 สำหรับผู้ที่จะปรับจากชั้นประทวนเป็นสัญญาบัตร แนวข้อสอบที่นำมาวันนี้เป็นแนวข้อสอบสอบกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา สำหรับสายปราบปราม ส่วนสำหรับสายอำนวยการนั้น จะนำมาลงให้วันหลังคะ แนวข้อสอบ ตํารวจ สำหรับการสอบปี 2555 แนวข้อสอบ ตํารวจ อก 2555 แนวข้อสอบ ตํารวจ ปราบปราม 2555
แนวข้อสอบ ตํารวจ สำหรับการสอบปี 2555 แนวข้อสอบ ตํารวจ อก 2555 แนวข้อสอบ ตํารวจ ปราบปราม 2555
แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
1.ข้อใดออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตัวหน้า
ก. กรับ ข. ปราบ ค. ขลัง ง. สร้าง
2.คำว่า “ กุลสตรี’’ อ่านอย่างไร
ก. กุน-ละ-สะ-ตรี
ข. กุน-ละ-สัด-ตรี
ค. กุน-สัด-ตรี
ง. กุ-ละ-สัด-ตรี
3./ต/, /ท/, /น/ คือเสียงพยัญชนะที่เกิดจากส่วนใดขณะออกเสียง
ก. เพดานอ่อน
ข. ฟันและปุ่มเหงือก
ค. ริมฝีปากและฟัน
ง. ช่องว่างระหว่างเส้นเสียง
4. ข้อใดมีเสียงพยัญชะต้นเหมือนคำว่า “ รัก ”
ก. บัณฑิต ข. กราบ
ค. กลัว ง. ฤทธิ์
5. ข้อใดจับคู่การออกเสียงพยัญชนะต้นได้ตรงกัน
ก. ศรี- ทรุด ข. หมา – หา
ค. ปรอท – ปราบ ง. ทราบ – จันทรา
6. ข้อใดเป็นสระเสียงสั้นทั้งหมด
ก. อิ เอะ โอ ข. โอะ เอาะ ออ
ค. เอีย อัว เอะ ง. แอะ อึ อุ
7. ข้อใดกล่าวถึงสระได้ถูกต้อง
ก. สระเดี่ยว เรียกอีกอย่างว่า สระแท้
ข. สระแท้มี 17 เสียง
ค. สระประสมมี 4 เสียง
ง. สระประสม เรียกอีกอย่างว่า สระแปร
8. คำในข้อใดเป็นพยางค์ปิดทั้งหมด
ก. ทั้ง เต่า ไป มา ข. สอง ว่า สี ข้อ
ค. คลอง นั่ง ใจ น้ำ ง. ที่ ข้อ ปี เข้า
9. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก. จาก มีโครงสร้างพยางค์ต่างกับ ปา
ข. แสร้ง มีโครงสร้างพยางค์ต่างกับ กล้ำ
ค. ท่อง มีโครงสร้างพยางค์ต่างกับ จำ
ง. แพว มีโครงสร้างพยางค์ต่างกับ แก้ว
10. ข้อใดเป็นพยางค์ปิดทุกพยางค์
ก. ไฟดับ ข. อำลา ค. หมูอ้วน ง. ข้อสอบ
11. ข้อใดหมายถึงคำครุ
ก. คำที่ไม่มีตัวสะกด + สระเสียงยาว ข. คำที่ไม่มีตัวสะกด + สระเสียงสั้น
ค. คำที่มีตัวสะกด + สระเสียงยาว ง. คำที่มีตัวสะกด + สระเสียงสั้น
12. ข้อใดเป็นคำลหุทุกคำ
ก. ปิติ สงสาร ข. ปะทุ มะละ
ค. สละ กระโดด ง. ก็ น้ำตา
13. ข้อใดเป็นการออกเสียงแบบไม่เน้นพยางค์แรก
ก. กราบพระ ข. ธนาคาร
ค. ปราบปราม ง. ปาดเหงื่อ
14. ข้อใดเป็นการออกเสียงคำว่า “ มาก ” เพื่อเน้นเสียง
ก. คุณไปกับคุณมากด้วยหรือ
ข. เธอทำกับข้าวอร่อยมาก
ค. มากมายแบบนี้คงกินไม่หมด
ง. ฉันมีกระเป๋ามากแบบ
15. ข้อใดมีพยัญชนะที่ไม่ต้องอ่านออกเสียงมากกว่า 2 คำ
ก. สวัสดี สัตย์ ปรารถนา มิตร
ข. สุข สงค์ ปราชญ์ ถนอม
ค. เศรษฐี หลบ กลบ มลาย
ง. สร้อย ยุทธ ลลาย พระ
16. คำราชาศัพท์ในข้อใด แปลความหมายผิด
ก. ดำริ = ความคิด ข. โอวาท = คำสอน
ค. อนุเคราะห์ = ช่วยเหลือ ง. เสด็จ = เดิน
17. คำในข้อใดใช้ สระลดรูป
ก. คลอง ข. เทอม ค. พร ง. แกะ
18. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวผิด
ก. มา ออกเสียง สามัญ ข. นะ ออกเสียง ตรี
ค. คะ ออกเสียง ตรี ง. ซิ ออกเสียงโท
19. ข้อใดเป็นคำสนธิ
ก. สิงหาคม ข. กิจการ ค. วารสาร ง. ราชวัง
20. ข้อใดกล่าวถึงคำมูลได้ถูกต้อง
ก. คำมูล ไม่ได้เกิดจากการรวมคำใดๆ
ข. คำมูล จะต้องมี 2 พยางค์ขึ้นไป
ค. ตลก ไม่ใช่คำมูล
ง. ใน 1 คำมูลจะต้องมีความหมายทุกพยางค์
21. ข้อใดเป็นคำซ้ำ
ก. ไวไว ข. นานา ค. จะจะ ง. เรื่อยเรื่อย
22. ข้อใดเป็นคำซ้อนทุกคำ
ก. บ้านเรือน มืดค่ำ มองเห็น ข. ชั่วดี ทาทายัง ถี่ห่าง
ค. หักโหม เฮฮา ไปไหน ง. แข็งแรง คุณค่า ขายของ
23. “คำที่เกิดจากการเอาคำ 2 คำที่มีความหมายต่างกันมารวมกัน เพื่อให้เกิดความหมายใหม่ โดยมีเค้าความหมายเดิม ’’ หมายถึงข้อใด
ก. คำซ้อน ข. คำซ้ำ ค. คำประสม ง. คำสนธิ
24. คำที่ขีดเส้นใต้ในข้อใด ไม่ใช่คำประสม
ก. เขาชูกำปั้นหรา ข. เรามีหลักการร่วมกัน
ค. เขากำมือหล่อนแน่น ง. หลังคาบ้านเธอสวยจัง
25. ข้อใดคือโครงสร้างของคำประสมแบบ คำนาม + คำวิเศษณ์
ก. พ่อตา ข. ลูกเลี้ยง ค. ถือดี ง. ทองแดง
26. ข้อใดกล่าวถึงคำสมาสผิด
ก. เอาคำบาลี – สันสกฤตมารวมกัน
ข. เอาคำขยายวางหน้าคำนาม
ค. เวลาอ่านต้องใส่สระ อำ เพื่อแผลงคำ
ง. ห้ามใส่การันต์ระหว่างค